top of page

บทความสุขภาพ

ทำอย่างไร? เมื่อต้องดูแลความสะอาดของผู้มีภาวะติดเตียง

ความสะอาดเป็นเรื่องที่ต้องระมัดระวังเป็นอย่างมาก เพราะผู้มีภาวะติดเตียง มีระบบภูมิคุ้มกันร่างกายที่อ่อนแอ และมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อที่ง่ายกว่าคนทั่วไป
444483008_455831510284798_1817129663874094551_n.jpg

ปอดแฟบ ภาวะที่ไม่ควรมองข้ามในผู้มี "ภาวะติดเตียง"

ภาวะปอดแฟบ เป็นภาวะที่มักเกิดกับผู้มีภาวะติดเตียง เพราะผู้มีภาวะติดเตียงนั้นจะอยู่ในท่านอนเป็นส่วนใหญ่ ทำให้หายใจตื้นกว่าคนปกติ ปอดไม่ขยาย จนทำให้เกิดภาวะปอดแฟบ หากรู้วิธีการดูแลผู้มีภาวะติดเตียง ก็สามารถช่วยป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนได้ 
450373685_481637061037576_4904325731227080951_n.jpg

ภาวะกลืนลำบากในผู้มี "ภาวะติดเตียง"

ภาวะกลืนลำบากพบบ่อยในผู้มีภาวะติดเตียง โดยเฉพาะผู้ที่เป็นโรคหลอดเลือดสมอง อาจส่งผลให้เกิดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ได้เช่น ปอดติดเชื้อจากการสำลักและภาวะทุพโภชนาการ เป็นต้น 
441522782_454092507125365_671651433761783449_n.jpg
5 สิ่งที่ต้องระวัง ผู้มีภาวะติดเตียง
เกร็ดความรู้จากคุณหมอประจำณครา 5 สิ่งที่ต้องระมัดระวัง สำหรับ “ผู้มีภาวะติดเตียง” การเฝ้าดูแลระมัดระวังผู้
มีภาวะติดเตียง เป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างมาก เพราะจะช่วยให้ผู้ดูแลได้เฝ้าระวังสุขภาพและอาการของผู้ป่วย
ช่วยป้องกันภาวะแทรกซ้อนต่างๆได้ 
448997621_474588345075781_67079432507027375_n.jpg

ดูแลสมองอย่างไร? ให้ห่างไกล อัลไซเมอร์

โรคอัลไซเมอร์ (Alzheimer’s disease) เป็นโรคที่พบได้บ่อยที่สุดราว 70% และมักพบในผู้ที่มีอายุ 60-65 ปีขึ้นไป
หากรู้จักวิธีการดูแลสมองของเราอย่างถูกต้อง ก็จะสามารถช่วยชะลอกความเสื่อมของสมอง ทั้งยังช่วยยับยั่งการเกิดโรคอัลไซเมอร์ได้อีกด้วย  
462133015_538771608657454_1839421083178636330_n.jpg
ข้อยึดติด กล้ามเนื้อฝ่อลีบผู้มี "ภาวะติดเตียง" ภาวะแทรกซ้อนที่ควรระวัง

​ข้อยึดติดหรือกล้ามเนื้อฝ่อลีบ เป็นภาวะแทรกซ้อนในผู้มีภาวะติดเตียงที่ควรระวัง!!
การป้องกันโดยการกายภาพหรือขยับร่างกายจึงเป็นสิ่งสำคัญ เพราะเมื่อเป็นแล้วอาจยากที่จะแก้ไข 
 

bottom of page